รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
คณะ/สาขาวิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์/ สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร |
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา 01116007 เคมีและจุลชีววิทยาของอาหาร Food Chemistry and Microbiology |
2. จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (3 0-6) |
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร |
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ |
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1/2555 / ชั้นปีที่ 2 |
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี |
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี |
8. สถานที่เรียน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 6 พฤศจิกายน 2556 |
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1) เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจองค์ประกอบทางเคมีของอาหาร และพื้นฐานเกี่ยวกับจุลินทรีย์ในอาหาร 2) สามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้ในงานด้านวิศวกรรมอาหาร |
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
|
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา องค์ประกอบทางเคมีของอาหารได้แก่ น้ำ คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ลิปิด วิตามิน และเกลือแร่ การเปลี่ยนแปลงระหว่างการเก็บเกี่ยว การแปรรูปและการเก็บรักษา บทบาทของสารเคมีในกระบวนการแปรรูปอาหาร ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจุลินทรีย์ในอาหาร การปนเปื้อนและการควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค และเป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย หลังการเก็บเกี่ยวระหว่างการแปรรูป และการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ในอาหาร การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมอาหาร |
|||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา |
|||
บรรยาย |
สอนเสริม |
การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน |
การศึกษาด้วยตนเอง |
บรรยาย 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา |
ไม่มี |
ไม่มี |
การศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ |
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ |
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม |
1.1. คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1 มีวินัย การตรงต่อเวลา สุขลักษณะส่วนบุคคล ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม การแต่งกาย ความซื่อสัตย์ 2 มีความเคารพ ความเคารพตนเอง ความกตัญญูต่อบุพการีและผู้มีพระคุณ ความเคารพต่อการศึกษา และ สถานที่ศึกษา รวมทั้ง การมีน้ำใจ และการเคารพสิทธิ ของผู้อื่น 3 มีความอดทน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ความอดทนต่อความยากลำบาก รู้จักการทำงานเป็นทีม อดทนต่อความขัดแย้ง และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
1.2. วิธีการสอน 1. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา และพฤติกรรมในชั้นเรียน 2. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ 3. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ 4 บรรยายสอดแทรก คุณธรรมจริยธรรม ที่จำเป็นต่อวิศวกรอาหาร |
1.3. วิธีการประเมินผล 1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ |
2. ความรู้ |
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการในอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3. สามารถรู้ เข้าใจ สนใจพัฒนาความรู้ และติดตามเทคโนโลยีใหม่ๆ |
2.2 วิธีการสอน 1. ใช้วิธีการบรรยาย การยกตัวอย่างประกอบการบรรยาย 2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับเคมีและจุลชีวิทยาของอาหาร 3. การมอบหมายให้นักศึกษาจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้สู่สังคม |
2.3 วิธีการประเมินผล ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน |
3. ทักษะทางปัญญา |
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ |
3.2 วิธีการสอน จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น การจัดทำรายงานและการอภิปรายกลุ่ม เป็นต้น |
3.3 วิธีการประเมินผล 1. การจัดทำรายงานของนักศึกษา 2. การนำเสนอผลงานและการตอบคำถามในเรื่องที่เกี่ยวข้อง |
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ |
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา มีความรับผิดชอบในการทำงานและสามารถสื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ |
4.2 วิธีการสอน กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานเป็นกลุ่ม |
4.3 วิธีการประเมินผล 1 การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม 2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ |
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนการเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ |
5.2 วิธีการสอน
|
5.3 วิธีการประเมินผล
|
ครั้งที่ |
สัปดาห์ที่ / วันเดือนปี |
หัวข้อ Food chemistry |
หัวข้อ Food Microbiology |
กิจกรรม |
1 |
6 พฤศจิกายน |
คุณภาพอาหารและความปลอดภัยของอาหาร ด้านเคมีและจุลินทรีย์ |
|
|
2 |
|
อันตรายในอาหาร (food hazard)
|
|
|
3 |
|
การตรวจประเมินคุณภาพและความปลอดภัยอาหารทางเคมีในอาหาร |
การตรวจประเมินคุณภาพและความปลอดภัยอาหารด้านจุลินทรีย์ในอาหาร |
|
4 |
|
น้ำในอาหาร |
จุลินทรีย์ในอาหาร
|
|
5 |
|
คาร์โบไฮเดรทในอาหาร
|
|
|
6 |
|
คาร์โบไฮเดรทในอาหาร (ต่อ)
|
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ การเสื่อมเสียของอาหารเนื่องจากจุลินทรีย์ (microbial spoilage) |
|
7 |
|
โปรตีนในอาหาร
|
|
|
8 |
21 กรกฎาคม |
โปรตีนในอาหาร (ต่อ)
|
กลุ่มของแบคที่สำคัญในอาหาร
|
|
|
23-31 กรกฎาคม |
สอบกลางภาค |
|
|
9 |
4 สิงหาคม |
ลิพิดในอาหาร
|
จุลินทรีย์ก่อโรค (pathogen) |
|
10 |
11 สิงหาคม |
ลิพิดในอาหาร (ต่อ)
สมบัติของน้ำมันและไขมัน
ปฏิกริยาของลิพิด |
จุลินทรีย์ก่อโรค (ต่อ)
|
|
11 |
18 สิงหาคม |
เกณฑ์การกำหนดจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหารประเภทต่างๆ
|
|
|
12 |
25 สิงหาคม |
การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ ในการหมัก (fermentation) |
|
|
13 |
1 กันยายน |
|
|
|
14 |
8 กันยายน |
|
|
|
15 |
15 กันยายน |
|
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ จัดโดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง โดยให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของสถาบันฯ ซึ่งเป็นการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาดังนี้ - แบบประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา |
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้ - ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการสอบของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ |
3. การปรับปรุงการสอน การสัมมนาการจัดการเรียนการสอน |
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการใช้ระบบประกันคุณภาพภายในช่วยในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา |
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 |
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ |
||||
กิจกรรมที่ |
ผลการ เรียนรู้ |
วิธีการประเมิน |
สัปดาห์ที่ ประเมิน |
สัดส่วนของการ ประเมินผล |
1 |
1.1, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 3.1 |
สอบกลางภาค สอบปลายภาค การบ้าน |
วันที่ 28 กรกฏาคม วันที่ 23 กันยายน
|
40% 40% 10% |
2 |
1.1,1.2,1.3,1.4, 1.5, 2.1, 2.2, 2.3,2.4,2.5 3.1,3.2, 4.1, 4.2,4.3,4.4 5.1,5.2,5.3, 5.4 |
|
|