มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เครื่องสลัดน้ำออกจากผักกวนผสมแบบให้ความร้อน
1. ขอบข่าย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมเฉพาะเครื่องสลัดน้ำออกจากผักชนิดใบ ซึ่งผักผ่านกระบวนการล้างทำความสะอาดแล้ว มีความสามารถในการทำงานไม่เกิน 20 กิโลกรัมผักต่อรอบการล้าง 1 ครั้ง ทำงานโดยใช้มอเตอร์เหนี่ยวนำเป็นต้นกำลัง
เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนเครื่องมีแรงดันไฟฟ้ามอเตอร์ต้นกำลังสำหรับหมุนใบกวนผสมที่กำหนดไม่เกิน 250 โวลต์ สำหรับเครื่องกวนผสมเฟสเดียว และไม่เกิน 480 โวลต์สำหรับเครื่องกวนผสมแบบให้ความร้อนอื่น
2. บทนิยาม
ความหมายของคำที่ใช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ มีดังต่อไปนี้
2.1 เครื่องสลัดน้ำออกจากผัก ซึ่งต่อไปในมาตรฐานนี้จะเรียกกว่า "เครื่องสลัดน้ำผัก"หมายถึงเครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหารที่ใช้สำหรับลดปริมาณน้ำที่ติดอยู่กับผักชนิดใบ โดยน้ำที่ติดอยู่กับผักจะถูกสลัดออกโดยอาศัยหลักแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
2.2 อัตราการทำงาน หมายถึง มวลของผักที่สัมพันธ์กับชนิดของผักที่บรรจุในเครื่องสลัดน้ำผัก เป็น กิโลกรัมผักต่อ1 รอบการทำงาน
3. ส่วนประกอบและการทำ
3.1 ส่วนประกอบ
เครื่องสลัดน้ำผัก อย่างน้อยต้องมีส่วนประกอบหลัก ดังแสดงตามรูปที่ 1
โครงเครื่อง
ถังสลัดน้ำชั้นนอกและฝาปิด
ถังสลัดน้ำชั้นใน
มอเตอร์เหนี่ยวนำ
แผงอุปกรณ์ควบคุมการทำงาน
ก) ตัวอย่างส่วนประกอบหลักของเครื่องสลัดน้ำผักชนิดโครงเครื่องแยกจากถังสลัดน้ำชั้นนอก
(ข้อ 3.1)
ถังสลัดน้ำชั้นนอกและฝาปิด
ถังสลัดน้ำชั้นใน
มอเตอร์เหนี่ยวนำ
แผงอุปกรณ์ควบคุมการทำงาน
ข) อย่างส่วนประกอบหลักของเครื่องสลัดน้ำผักชนิดไม่มีโครงเครื่อง
รูปที่ 1ขตัวอย่างส่วนประกอบหลักของเครื่องสลัดน้ำผักแบบให้ความร้อน
(ข้อ 3.1)
ให้ความร้อน
3.1.1 ระบบการกวนผสม ทำหน้าที่ผสมวัตถุดิบให้ผสมคลุกเคล้ากันและมีการกระจายความร้อนได้ทั่วถึง
3.1.2ถังกวนผสมหรือกระทะกวนผสม ทำหน้าที่บรรจุวัตถุดิบสำหรับผสม
3.1.3 อุปกรณ์ควบคุมสำหรับปรับรอบใบกวน ทำหน้าที่ปรับตั้งความเร็วรอบใบกวน
3.1.4 ใบกวนผสม ทำหน้าที่กวนผสมให้วัตถุดิบผสมเข้ากันและความร้อนกระจายตัวในวัตถุดิบทั่วถึง ใบกวนสามารถถอดเปลี่ยนได้เพื่อเลือกชนิดใบกวนให้เหมาะสมกับวัตถุดิบ
3.1.5หัวแก๊สให้ความร้อน ทำหน้าที่ให้ความร้อนวัตถุดิบที่ด้านล่างถัง
3.1.6ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ต้องเป็นดังนี้
3.1.6.1โครงถังผสม
ต้องเป็นเหล็กกล้าไร้สนิมชั้นคุณภาพเทียบเท่ากับ AISI series 300 โดยต้องมีคุณลักษณะตามมาตรฐาน AISI หรือวัสดุชนิดอื่นที่มีคุณภาพเทียบเท่าหรือสูงกว่าที่กำหนดในมาตรฐานนี้
ผู้ทำต้องพิสูจน์หรือแสดงเอกสารรับรองคุณภาพหรือผลการวิเคราะห์คุณลักษณะของวัสดุว่าสามารถสัมผัสกับอาหารได้จากสถาบันหรือหน่วยงานที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยอมรับจากสถาบันหรือหน่วยงานที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยอมรับ
3.1.6.2ใบกวนผสม
ต้องเป็นเหล็กกล้าไร้สนิมชั้นคุณภาพเทียบเท่ากับ AISI series 300โดยต้องมีคุณลักษณะตามมาตรฐาน AISI หรือวัสดุชนิดอื่นที่มีคุณภาพเทียบเท่าหรือสูงกว่าที่กำหนดในมาตรฐานนี้
ผู้ทำต้องพิสูจน์หรือแสดงเอกสารรับรองคุณภาพหรือผลการวิเคราะห์คุณลักษณะของวัสดุว่าสามารถสัมผัสกับอาหารได้จากสถาบันหรือหน่วยงานที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยอมรับ
3.1.6.3มอเตอร์เกียร์ไฟฟ้า
ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเลขที่มอก.866และต้องเป็นไปตามการทดสอบข้อ 7.2
3.1.6.4ตู้ควบคุมไฟฟ้า(อุปกรณ์ควบคุมสำหรับปรับรอบใบกวน)
มีระดับชั้นการป้องกันน้ำอย่างน้อยเป็นชนิดป้องกันน้ำสาด(IPX4)(หมายเหตุ:ระดับชั้นการป้องกันน้ำ ให้ดู มอก. 513)
การทำ
3.2.1 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ต้องเป็นดังนี้
3.2.1.1 โครงเครื่อง
มีโครงสร้างแข็งแรง คงรูป ผิวเรียบ และสามารถทำความสะอาดได้ง่ายส่วนที่เป็นโลหะทั้งหมด ยกเว้นเหล็กกล้าไร้สนิม ต้องทาสีหรือเคลือบผิวเพื่อป้องกันสนิมมีโครงสร้างแข็งแรง คงรูป ผิวเรียบ และสามารถทำความสะอาดได้ง่าย
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจสอบใบรับรองและตรวจพินิจ
3.2.1.2 ถังสลัดน้ำชั้นนอกและฝาปิด
ต้องทำด้วยเหล็กกล้าไร้สนิม อย่างน้อยชั้นคุณภาพ 304 ฝาปิดอาจทำจากวัสดุชั้นคุณภาพใช้กับอาหาร(food grade) มีโครงสร้างแข็งแรง คงรูป ผิวเรียบ และสามารถทำความสะอาดได้ง่าย
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจสอบใบรับรองและตรวจพินิจ
3.2.1.3 ถังสลัดน้ำชั้นใน
(1) กรณีเครื่องสลัดน้ำผักที่มีความสามารถในการทำงานไม่เกิน 5 กิโลกรัมผักต่อรอบการสลัดน้ำ1 ครั้ง
ต้องทำด้วยเหล็กกล้าไร้สนิม อย่างน้อยชั้นคุณภาพ 304มีโครงสร้างแข็งแรง คงรูป ผิวเรียบมีรูระบายน้ำโดยรอบสามารถทำความสะอาดได้ง่ายและไม่มีส่วนที่อาจเสี่ยงต่อการสะสมของจุลินทรีย์และสามารถปรับความเร็วรอบได้
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจสอบใบรับรองและตรวจพินิจ
(2) กรณีเครื่องสลัดน้ำผักที่มีความสามารถในการทำงานมากกว่า 5 กิโลกรัมผักต่อรอบการสลัดน้ำ1 ครั้ง
ถังชั้นในชั้นที่ 1ต้องทำด้วยเหล็กกล้าไร้สนิม ชั้นคุณภาพอย่างน้อย 304มีโครงสร้างแข็งแรง คงรูป ผิวเรียบมีรูระบายน้ำโดยรอบสามารถทำความสะอาดได้ง่ายและไม่มีส่วนที่อาจเสี่ยงต่อการสะสมของจุลินทรีย์และสามารถปรับความเร็วรอบได้
ถังชั้นในชั้นที่ 2(ถังใส่ผัก)ต้องทำจากวัสดุชั้นคุณภาพใช้กับอาหาร เป็นถังที่มีช่องระบายน้ำโดยรอบ ยึดติดกับถังชั้นในชั้นที่ 1ขณะทำงาน สามารถถอดออกได้สามารถทำความสะอาดได้ง่ายและไม่มีส่วนที่อาจเสี่ยงต่อการสะสมของจุลินทรีย์
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจสอบใบรับรองและตรวจพินิจ
3.2.1.4 มอเตอร์เหนี่ยวนำ
ควรเป็นไปตามมอก.866ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ หรืออาจมีฝาครอบซึ่งถอดออกได้โดยใช้เครื่องมือเท่านั้นและไม่เป็นอุปสรรคต่อการปรับแต่ง ซ่อม และเปลี่ยนชิ้นส่วนอื่น ๆ
3.2.1.5 แผงอุปกรณ์ควบคุมการทำงาน (ถ้ามี)
ต้องมีระดับชั้นการป้องกันอย่างน้อย IPX4 (การป้องกันน้ำสาด) ตามมอก. 513
3.2.2 ส่วนที่เป็นจุดหมุนหรือส่วนที่มีการเสียดสีระหว่างโลหะของเครื่องสลัดน้ำผัก ต้องมีส่วนที่สามารถให้สารหล่อลื่นได้โดยสะดวก
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.3 ส่วนหรือบริเวณที่ต้องทำความสะอาดและบำรุงรักษาอยู่เสมอ ต้องอยู่ในตำแหน่งที่สามารถทำความสะอาดและบำรุงรักษาได้สะดวก
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.2 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องปรับแต่งได้ดังนี้
3.2.2.1 ถังชั้นในชั้นที่ 1 ต้องสามารถปรับความเร็วรอบได้
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.1 ส่วนต่าง ๆ ต้องเป็นดังนี้
3.2.1.1 วัสดุโครงสร้างของเครื่องกวนผสมส่วนที่สัมผัสอาหารต้องมีสมบัติที่เฉื่อยต่อผลิตภัณฑ์ สารทำความสะอาดและสารฆ่าเชื้อภายใต้สภาวะการใช้งาน ต้องมีสมบัติทนต่อการกัดกร่อน ไม่เป็นพิษ มีเสถียรภาพทางกล ผิวเรียบ ทำความสะอาดได้ง่าย วัสดุโครงสร้างส่วนที่ไม่สัมผัสอาหารต้องมีเสถียรภาพทางกล ผิวเรียบและทำความสะอาดได้ผู้ทำต้องพิสูจน์หรือแสดงเอกสารรับรองคุณภาพหรือผลการวิเคราะห์คุณลักษณะของวัสดุว่าสามารถสัมผัสกับอาหารได้จากสถาบันหรือหน่วยงานที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยอมรับ
3.2.1.2 เครื่องต้นกำลังต้องอยู่ในตำแหน่งที่ปลอดภัยต่อการทำงาน ควบคุมง่าย ไม่เป็นที่สะสมของฝุ่นหรือเศษผักเหลือจากการทำงานของเครื่องสลัดน้ำผัก
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.1.3 ส่วนที่เป็นจุดหมุนหรือส่วนที่มีการเสียดสีระหว่างโลหะ ต้องมีส่วนที่สามารถให้สารหล่อลื่นได้โดยสะดวก
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.1.4 ส่วนหรือบริเวณที่ต้องทำความสะอาดและบำรุงรักษาอยู่เสมอ ต้องอยู่ในตำแหน่งที่สามารถทำความสะอาดและบำรุงรักษาได้สะดวก
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.1.5 เครื่องกวนผสมต้องทำงานที่ภาระสูงสุดตามที่ระบุโดยไม่เกิดความเสียหายทางกล
การทดสอบตามข้อ 7.2
เครื่องกวนผสม ต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ เช่น
ชิ้นส่วนต่าง ๆ ต้องไม่มีปลายหรือแหลมคม
3.2.2.2 ระบบส่งกำลังที่อยู่ในตำแหน่งที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ต้องมีฝาครอบซึ่งจะถอดออกได้โดยใช้เครื่องมือเท่านั้นและไม่เป็นอุปสรรคต่อการปรับแต่ง ซ่อม และเปลี่ยนชิ้นส่วนอื่น ๆ
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
3.2.3 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องปรับแต่งได้ดังนี้
3.2.3.1 ใบกวนผสม
1)ต้องสามารถปรับเปลี่ยนชนิดใบกวนให้เหมาะสมกับวัตถุดิบได้
2)ต้องสามารถปรับเปลี่ยนความเร็วรอบการหมุนได้การทดสอบให้ทำโดยการตรวจวัดด้วยเครื่องมือวัดความเร็วรอบ
3.2.3.2หัวแก๊สให้ความร้อน
ต้องสามารถปรับเปลี่ยนปริมาณแก๊สเพื่อให้ได้อุณหภูมิความร้อนในถังผสมตามที่ต้องการ
4. คุณลักษณะที่ต้องการ
4.1 ลักษณะทั่วไป
4.1.1 เครื่องสลัดน้ำผัก ต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ เช่น
4.1.1 .1 ชิ้นส่วนต่าง ๆ ต้องไม่มีขอบคม หรือปลายแหลม
4.1.2 1.2 การป้องกันการเข้าถึงส่วนที่มีไฟฟ้า
เครื่องล้างสลัดน้ำผักต้องสร้างและหุ้มเพื่อให้มีการป้องกันอย่างเพียงพอต่อการสัมผัสโดยบังเอิญกับส่วนที่มีไฟฟ้า
การทดสอบให้ทำโดยการตรวจพินิจ
4.1.1 ไม่หยุดชะงักหรือติดขัดในการทำงาน4.2 สมรรถนะ
เมื่อทดสอบตามข้อ 7.1 แล้วต้องเป็นดังนี้
4.2.1 สมรรถนะที่ภาวะไม่มีโหลด
4.2.1.1 ไม่หยุดชะงักหรือติดขัดในการทำงาน
4.2.1.2 ชิ้นส่วนที่ทำหน้าที่หมุน ทำงานได้อย่างสม่ำเสมอ ไม่เกิดเสียงผิดปรกติเนื่องจากการเสียดสีหรือความไม่สมดุล
4.2.1.3 ถังสลัดน้ำชั้นในชั้นที่ 1ต้องหมุนได้อย่างสมดุล ไม่เหวี่ยงกระแทกกับถังสลัดน้ำชั้นนอก
4.2.2 สมรรถนะที่ภาวะมีโหลด
4.2.2.1 ประสิทธิภาพการสลัดน้ำเฉลี่ย ไม่น้อยกว่าร้อยละ75%ของค่าที่ผู้ทำระบุ
4.2.2.2 ลักษณะการทำงานของเครื่องสลัดน้ำผักยังคงต้องเป็นไปตามข้อ 4.2.14.1.3 ไม่มีชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ใดชำรุดเสียหาย และชิ้นส่วนที่ยึดให้ติดกันด้วยการเชื่อม สลักเกลียวหรือหมุดย้ำต้องไม่ร้าว คลาย หรือแยกออกจากกัน
4.1.4 ตลับลูกปืนต้องไม่ร้อนผิดปกติ เช่น เนื่องจากแกนเพลาไม่ได้แนว
5. เครื่องหมายและฉลาก
5.1 ที่เครื่องสลัดน้ำผักทุกเครื่อง อย่างน้อยต้องมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจ้งรายละเอียดต่อไปนี้ให้เห็นได้ง่ายชัดเจน และถาวร
(1) คำว่า "เครื่องสลัดน้ำออกจากผัก"
(2) หมายเลขลำดับเครื่อง
(4) มิติของเครื่อง ความกว้างxความยาวxความสูง เป็น มิลลิเมตรxมิลลิเมตรxมิลลิเมตร
(3) ความจุของถังสลัดน้ำชั้นในถังสลัดน้ำเป็น ลิตรLmmXmmXmm
(5) พิกัดของมอเตอร์เหนี่ยวนำ
(6) ประสิทธิภาพการสลัดน้ำเฉลี่ยมวลของผักที่สัมพันธ์กับชนิดของผักบรรจุในเครื่องสลัดน้ำผัก เป็น กิโลกรัมผักต่อรอบการทำงาน
(7) ข้อควรระวัง
(8) เดือนปีที่ทำ หรือรหัสรุ่นที่ทำ
(9) ชื่อผู้ทำหรือโรงงานที่ทำ หรือเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียน
5.2 เครื่องสลัดน้ำผักทุกเครื่องต้องมีคู่มือแนะนำการใช้ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) คำว่า "เครื่องสลัดน้ำออกจากผัก"
(2) หมายเลขลำดับเครื่อง
(3) ความจุของถังสลัดน้ำ เป็นL
(3) มิติของเครื่อง ความกว้างxความยาวxความสูง เป็น มิลลิเมตรxมิลลิเมตรxมิลลิเมตร
(4) ความจุของถังสลัดน้ำ เป็น ลิตรmmXmmXmm
(5) พิกัดของมอเตอร์เหนี่ยวนำ
(6) ประสิทธิภาพการสลัดน้ำเฉลี่ยมวลของผักที่สัมพันธ์กับชนิดของผักบรรจุในเครื่องสลัดน้ำผัก เป็น กิโลกรัมผักต่อรอบการทำงาน (7) เดือนปีที่ทำ หรือรหัสรุ่นที่ทำ
(7) รายชื่อและรูปแสดงส่วนประกอบ การประกอบ และการติดตั้ง
(8) คำแนะนำการใช้งาน
(8.1) คำแนะนำ เช่น เครื่องสลัดน้ำออกจากผักนี้ไม่เหมาะสำหรับผักที่ช้ำง่ายหรือควรสลัดน้ำที่ความเร็วรอบต่ำ
(8.2) คำเตือนและหรือข้อพึควรงระวังที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน และ/หรือ ความ
เสียหายต่อเครื่องสลัดน้ำผัก เช่น ปิดฝาเครื่องสลัดน้ำก่อนเริ่มต้นทำงาน
(8.3) และการดูแลรักษา เช่น วิธีทำความสะอาด ข้อปฏิบัติหลังทำความสะอาดข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้งาน
(9) เดือนปีที่ทำ หรือรหัสรุ่นที่ทำ
เช่น เครื่องสลัดน้ำออกจากผักนี้ไม่เหมาะสำหรับผักที่ช้ำง่ายหรือควรสลัดน้ำที่ความเร็วรอบต่ำ
(10) ชื่อผู้ทำหรือโรงงานที่ทำ หรือเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียน
5.3 ในกรณีที่ใช้ภาษาต่างประเทศ ต้องมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กำหนดไว้ข้างต้น5.4 ผู้ทำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็นไปตามมาตรฐานนี้ จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นได้ ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว
6. การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตัดสิน
6.1 รุ่นในที่นี้ หมายถึง เครื่องสลัดน้ำผักแบบรุ่น (mModel) เดียวกันที่ทำ หรือส่งมอบ หรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน
6.2 การชักตัวอย่างและการตัดสิน ให้เป็นไปตามแผนการชักตัวอย่างที่กำหนดต่อไปนี้ หรืออาจใช้แผนการชักตัวอย่างอื่นที่เทียบเท่ากันทางวิชาการกับแผนที่กำหนดไว้
6.2.1 การชักตัวอย่าง
ให้ชักตัวอย่างโดยวิธีสุ่มจากรุ่นเดียวกันจำนวน 1 เครื่อง
6.2.2 เกณฑ์ตัดสิน
ตัวอย่างเครื่องสลัดน้ำผักต้องเป็นไปตามข้อ 3. และ ข้อ 4.และข้อ 5. ทุกรายการจึงจะถือว่าเครื่องสลัดน้ำผักรุ่นนั้นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้
7. การทดสอบ
7.1 สมรรถนะ
7.1.1 ทั่วไป
7.1 ลักษณะทั่วไป
7.1.1.1 ข้อกำหนดทั่วไปในการหาค่าต่าง ๆ และอุปกรณ์วัดในการทดสอบให้เป็นดังนี้
(7.1.1.1) มวลน้ำหนัก
ใช้เครื่องชั่งที่ชั่งมวลได้ละเอียดถึง 100g
(7.1.1.2) ความกว้างของผักที่ซอย
ใช้เครื่องวัดที่มีความละเอียดถึง 1 mm
7.1.2 การเตรียมการทดสอบ
7.1.2.1 การเตรียมเครื่องสลัดน้ำผักทดสอบ
(1) ติดตั้งเครื่องเครื่องสลัดน้ำผักทดสอบบนพื้นแข็งที่ได้ระดับ
(2) ปรับแต่งชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามที่ผู้ทำระบุ
7.1.2.2 การเตรียมผักทดสอบ
(1) ผักที่ใช้ทดสอบให้ใช้ผักกะหล่ำปลีขาว มวลที่เพียงพอกับการทดสอบที่ปริมาตร 80 % ของความจุถังสลัดน้ำถังที่ผู้ทำระบุ
(2) นำไปแยกใบช้ำ หรือใบเน่าเสียออก แล้วล้างด้วยน้ำสะอาด
(3) ตัดแบ่งออกเป็น 4ส่วนเท่า ๆ กัน โดยตัดแกนกลางทิ้ง
(4) ซอยให้มีความกว้าง2±1 1mm ถึง 3mm
(5) นำผักไปชั่งมวล บันทึกผลเป็นมวลผักก่อนแช่น้ำ (Mv)
(6) แช่ผักในน้ำสะอาด เป็นเวลา 5 min
(7) สะเด็ดน้ำผักโดยการนำไปใส่ไว้ในตะกร้า เป็นเวลา 3 min
(8) นำไปชั่งมวล บันทึกผลเป็นมวลผักก่อนสลัดน้ำ (Mi)
7.1.32 วิธีการทดสอบ
7.1.3.7.2.1 สมรรถนะที่ภาวะไม่มีโหลด
ให้เครื่องสลัดน้ำผักทำงานที่ภาวะไม่มีโหลด เป็นเวลา 5minตรวจพินิจเครื่องสลัดน้ำผักระหว่างการทำงานและภายหลังการทำงาน
7.1.3.7.2.2 สมรรถนะที่ภาวะมีโหลด
7.2.2.(1) ให้ใช้เครื่องสลัดน้ำผักที่ผ่านการทดสอบในข้อ 7.2.1
(2)7.1.2.2 ใส่ผักทดสอบลงในถังสลัดน้ำชั้นในชั้นที่ 1
(3)7.2.2.3 ให้เครื่องสลัดน้ำผักทำงานที่อัตราการทำงานตามที่ผู้ทำระบุ
(4) 7.2.2.4 นำผักทดสอบออกมาชั่งมวล บันทึกผลเป็นมวลผักหลังสลัดน้ำ (Mf)
(5)7.2.2.5 ทดสอบซ้ำตั้งแต่ข้อ 7.2.2.1ถึง ข้อ 7.2.2.4 โดยใช้ผักทดสอบชุดใหม่ จำนวน 4 ครั้ง
(6)7.2.2.6 คำนวณหาค่าประสิทธิภาพการสลัดน้ำเฉลี่ย(%)จากสูตร
ประสิทธิภาพการสลัดน้ำเฉลี่ย =(∑_(j=1)^5▒[(M_i-M_f)/(M_i 〖-M〗_v )]_j )/5=∑▒〖[(M_i-M_f)/M_i 〗]/5×x100