Allergen Testing การทดสอบสารก่อภูมิแพ้แบบสวอบจาก 3เอ็ม
ใช้งานง่าย เชื่อถือได้ และมีประสิทธิภาพติดต่อรับตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อทดสอบ3M offers simple and very sensitive swab testing for the detection of
protein residues on
surfaces and in
solution. Checking for removal of protein residues after cleaning can quickly identify
contamination.
Validated for a range of allergenic proteins, including
•
Egg•
Milk•
Gluten•
Soy•
Peanut•
Almond• Buckwheat
More detail of products:3M™ Bovine Casein Protein ELISA Kit E96CAS, 96 wells/kit3M™ Clean-Trace™ Surface Protein Plus Test Swab PRO100, 100 per case3M™ Soy Protein ELISA Kit, E96SOY, 96 wells/kit3M™ Pecan Protein ELISA Kit, E96PEC, 96 wells/kitMore detail of products:3M™ Clean-Trace™ Surface Protein (Allergen) Test Swab ALLTEC60, 60 per case3M™ Almond Protein ELISA Kit E96ALM, 96 wells/kit 3M™ Walnut Protein ELISA Kit, E96WAL, 96 wells/kit3M™ Peanut Protein ELISA Kit, E96PNT, 96 wells/kitMore detail of products:3M™ Mollusk Protein ELISA Kit, E96MOL, 96 wells/kit3M™ Bovine Total Milk Protein Rapid Kit L25MLK, 25 tests/kit3M™ Gluten Protein Rapid Kit L25GLU, 25 tests/kit3M™ Coconut Protein ELISA Kit, E96COC, 96 wells/kitMore detail of products:3M™ Pecan Protein Rapid Kit L25PEC, 25 tests/kit3M™ Soy Protein Rapid Kit L25SOY, 25 tests/kit3M™ Hazelnut Protein Rapid Kit L25HZL, 25 tests/kit3M™ Peanut Protein Rapid Kit L25PNT, 25 tests/kitMore detail of products:3M™ Macadamia Protein ELISA Kit, E96MAC, 96 wells/kit3M™ Pine Nut Protein ELISA Kit, E96PNE, 96 wells/kit3M™ Sesame Protein ELISA Kit, E96SES, 96 wells/kit3M™ Egg White Protein ELISA Kit, E96EGG, 96 wells/kitMore detail of products:3M™ Cashew Protein ELISA Kit, E96CHW, 96 wells/kit3M™ Brazil Nut Protein ELISA Kit E96BZL, 96 wells/kit3M™ Coconut Protein Rapid Kit L25COC, 25 tests/kit3M™ Pistachio Protein Rapid Kit L25PST, 25 tests/kitรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อแผนกผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety Department)
3M Food Safety / บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จำกัด88 อาคารเดอะ ปาร์ค ชั้น 14
ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย
เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์: +66 (0)2 666 3666
แฟกซ์: +66 (0)2 666 4000
คุณนริสรา วานิกร อีเมล์:
nwanigorn@mmm.com คุณเมสิณี ลิขิตรัตนไพบูลย์ อีเมล์:
maneelik@mmm.com คุณณรัณรัชต์ ภู่โยธิน อีเมล์:
kbhuyothin@mmm.com3 Key Steps for Establishing an Effective Food Allergen Control PlanWith allergies becoming an increasing health problem globally, the need to have an allergen control plan has never been more critical.Do you know where your allergen control plan is? The need for food manufacturers to have a clearly defined allergen control plan in place has never been more essential. Today, as
food allergies are a growing health problem around the world to both children and adults, control measures to prevent food allergenic reactions simply must be established and enforced within the food manufacturing environment.
How did we arrive here? After all, it wasn’t that long ago that the approach to prevent an allergic reaction caused by a particular food relied on avoidance of the consumption of that food by reading product labels. Allergic individuals would merely rely on the information provided on the label to determine whether the ingredients include a food that may be a source of a potential allergen.
That approach started to become more stringent in January 2006 when the Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act (FALCPA) took effect in the United States. The law requires that food labels specifically and clearly declare the presence of what is commonly referred to as the Big 8
Food Allergens:
Milk,
egg,
fish,
crustacean shellfish,
tree nuts,
peanuts,
wheat and
soy. Outside the United States, the European Union, Canada, New Zealand, Japan and other countries have similar requirements for these and other known food allergens. Despite U.S. law now requiring the declaration of allergens on food labels, estimates of food recalls due to mislabeling is at more than 40% in the United States—alarming evidence for the need for a strong and structured allergen control plan. According to the USDA, the number of recalls due to undeclared
allergens and
ingredients considered a public concern increased from 13% in 2008 to 35% in 2012. The most common causes of recalls stem from changes in product
formulation, changes in supplier’s ingredient formulation, regulatory inspections or consumer complaints.
So, what should today’s food manufacturers do? They must declare any allergens in their food to consumers, and they should follow
Good Manufacturing Practices (
GMP) and keep ingredients segregated within the plant. However, with increased food demand, this is more challenging than ever. As more food and food varieties are produced, the practice of sharing lines for allergen-containing and allergen-free foods is now commonplace. If a company shares production lines within its plant, then it needs to take steps to minimize the risk of cross contact and the unintentional addition of allergens during food production.
The FSMA final rule for Preventive Controls for Human Foods requires facilities to have a food safety plan in place that should consider a risk-based analysis of
hazards and preventive controls to minimize or eliminate
chemical,
physical and
biological hazards in the food supply chain. Within these preventive controls, food allergen controls should be in place as written and implemented procedures to control cross contact and ensure proper labeling.
For food and beverage manufacturers looking to establish a food allergen control plan, there are three key steps:1. Risk Assessment: Is there a chance that unintentional allergens could be present in the food or manufacturing equipment in your plant? Risk assessment involves a hazard analysis by a multifunctional team that includes members from such departments as manufacturing, quality, food safety, sanitation, research and development, and regulatory compliance. Risk assessment helps identify potential sources of food allergens and maps their path through each step of the manufacturing process. Once the path is identified, controls can be put in place in target areas such as reception and storage, scheduling of production runs, variations in production, equipment design and supply and cleaning materials. It is important to periodically review and reassess your risk assessment as new products, formulation changes or vendor changes may change production conditions.
2. Risk Management: Now that risks have been identified, they need to be managed. The key to successful risk management is developing work instructions and standard operating procedures that control the possibility of unintentional allergen contamination. These procedures and instructions include quality requirements for vendors’ ingredients, segregation, production controls, manufacturing scheduling, equipment and plant design, as well as cleaning and sanitation procedures. It is important to validate that these procedures and practices are effective using a science-based approach. In addition, these activities should be routinely reviewed and evaluated for effectiveness. A successful allergen control plan relies on continuous training, clear explanation of procedures and documentation of the existence and effectiveness of the plan.
3. Risk Communication: The next step after assessment and management is communication. If you have an allergenic food in your plant that could be unintentionally found in the finished food product, it is essential that this information appears on the food label. Risk assessment can help define the nature of the potential allergen. Is the final product manufactured from ingredients that contain allergens or is it manufactured on equipment that is in direct contact with allergenic ingredients? This analysis can ensure proper labeling, either in the food ingredients or as a precautionary allergen label (PAL).
Ultimately, it is important to remember that food allergen control plans require management commitment to succeed. Continual communication and training increase the safety of manufactured products. Allergen control is but one of the many efforts to prevent and minimize
foodborne illness in humans, but the development of and adherence to an effective allergen control plan will go far in protecting allergic consumers and reducing the food manufacturer’s risk to reputational and recall costs.
Contact Detail: 3M Food Safety Department3M Thailand Limited 88 The PARQ Building, 14th Floor Ratchadaphisek Road,
Khlong Toei Sub-district, Khlong Toei District, Bangkok 10110 | Thailand
Tel: 0 2260 8577
Fax: +66 (0)2 666 4000
Ms. Narisara Wanigorn E-Mail:
nwanigorn@mmm.com Ms. Masinee Likhitrattanapaiboon E-Mail:
maneelik@mmm.com Ms. Narunras (Kavisra) Bhuyothin E-Mail:
kbhuyothin@mmm.com3 ขั้นตอนสำคัญสำหรับการจัดทำแผนการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ในอาหารอย่างมีประสิทธิภาพโรคภูมิแพ้ได้กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ความจำเป็นที่จะต้องมีแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้จึงมีความสำคัญยิ่งกว่าที่เคยคุณมีแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้หรือยัง ความต้องการในการมีแผนที่ชัดเจนเพื่อควบคุมสารก่อภูมิแพ้ของผู้ผลิตอาหารจึงมีความจำเป็นยิ่งกว่าที่เคย ทุกวันนี้ เนื่องจากการแพ้อาหารเป็นปัญหาสุขภาพของทั้งเด็กและผู้ใหญ่ที่กำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก จึงต้องมีการกำหนด และบังคับใช้มาตรการควบคุมสภาวะแวดล้อมในการผลิตอาหารเพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยา
ภูมิแพ้จากอาหารเรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้เองที่เราใช้วิธีการป้องกันปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่เกิดจากอาหารบางชนิด โดยอาศัยการหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารดังกล่าวจากการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์
บุคคลที่มีอาการแพ้ก็จะอาศัยข้อมูลที่ระบุบนฉลากเพื่อพิจารณาว่าในอาหารนั้นมีส่วนผสมที่อาจเป็นแหล่งของสารก่อภูมิแพ้หรือไม่
แนวทางดังกล่าวเริ่มมีความเข้มงวดขึ้นในเดือนมกราคม 2006 เมื่อพระราชบัญญัติการติดฉลากสารก่อภูมิแพ้ในอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค (FALCPA) มีผลบังคับใช้ในสหรัฐอเมริกา
กฎหมายกำหนดให้ฉลากอาหารระบุอย่างเฉพาะเจาะจงและชัดเจนว่า มีอาหาร 8 ชนิดหลักที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเป็นตัวการในการก่อภูมิแพ้หรือไม่ ได้แก่
นม ไข่ ปลา สัตว์น้ำที่มีเปลือกหุ้ม นัทชนิดต่างๆ
ถั่วลิสง ข้าวสาลี และ
ถั่วเหลืองสำหรับประเทศอื่นที่นอกเหนือจากประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่ว่าจะเป็นสหภาพยุโรป แคนาดา นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ ก็มีข้อกำหนดที่คล้ายคลึงกันสำหรับ
สารก่อภูมิแพ้ในอาหารเหล่านี้และสารก่อภูมิแพ้อื่นๆ
แม้ในปัจจุบันกฎหมายของสหรัฐอเมริกากำหนดให้ต้องระบุสารก่อภูมิแพ้บนฉลากอาหาร แต่ยังมีการเรียกคืนอาหาร เนื่องจากการติดฉลากผิดมากกว่า 40% ในสหรัฐอเมริกา หลักฐานที่น่าตกใจนี้นำไปสู่ความต้องการแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ที่ได้รับการออกแบบอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
จากข้อมูลของ USDA พบว่าจำนวนการเรียกคืนเนื่องจากไม่มีการระบุ
สารก่อภูมิแพ้และ
ส่วนผสม ถือเป็นข้อกังวลของสาธารณชนที่เพิ่มขึ้นจาก 13% ในปี 2008 เป็น 35% ในปี 2012 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเรียกคืนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงใน
สูตรผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของผู้ผลิต การตรวจสอบโดยหน่วยงานกำกับดูแล หรือการร้องเรียนของผู้บริโภค
แล้วผู้ผลิตอาหารในปัจจุบันควรทำอย่างไร ผู้ผลิตอาหารจะต้องระบุสารก่อภูมิแพ้ใดๆ ในอาหารให้ผู้บริโภคทราบ และควรปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (
GMP) และแยกส่วนผสมต่างๆ ที่อยู่ภายในโรงงานด้วย
อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น เรื่องนี้จึงท้าทายยิ่งกว่าที่เคย เมื่อมีการผลิตอาหารเพิ่มขึ้นและหลากหลายมากขึ้น จึงเป็นเรื่องธรรมดามากในปัจจุบันที่จะใช้สายการผลิตร่วมกันระหว่างอาหารที่มีสารก่อภูมิแพ้ และอาหารที่ปลอดสารก่อภูมิแพ้ หากบริษัทใช้สายการผลิตร่วมกันภายในโรงงานของตน บริษัทจะต้องดำเนินการเพื่อลดความเสี่ยงของการปนเปื้อนข้ามสายการผลิต และการเพิ่มสารก่อภูมิแพ้โดยไม่ได้ตั้งใจในระหว่างการผลิตอาหาร
สาระสำคัญล่าสุดของกฎหมายปฏิรูปความปลอดภัยสินค้าอาหารของสหรัฐฯ (FSMA) ในมาตรการควบคุมเชิงป้องกันสำหรับอาหารมนุษย์ กำหนดให้โรงงานต้องมีแผนความปลอดภัยของอาหารโดยพิจารณาจากการวิเคราะห์ตามความเสี่ยงของ
อันตรายและการควบคุมเชิงป้องกัน เพื่อลดหรือกำจัดอันตรายทั้ง ทางด้าน
เคมี กายภาพ และ
ชีวภาพ ในห่วงโซ่อาหาร เราควรมีมาตรการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ในอาหารภายใต้มาตรการควบคุมเชิงป้องกันเหล่านี้เป็นลายลักษณ์อักษร และนำไปใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อควบคุมการปนเปื้อนข้ามสายการผลิต และตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการติดฉลากอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3 ขั้นตอนสำคัญในการกำหนดแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ในอาหารสำหรับผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่ม มีดังนี้1. การประเมินความเสี่ยง: มีโอกาสที่จะมีสารก่อภูมิแพ้โดยไม่ได้ตั้งใจในอาหาร หรืออุปกรณ์การผลิตในโรงงานของคุณหรือไม่ การประเมินความเสี่ยงเป็นการวิเคราะห์อันตรายโดยทีมงานจากหลากหลายหน่วยงาน อันประกอบด้วยสมาชิกจากฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายความปลอดภัยของอาหาร ฝ่ายสุขาภิบาล ฝ่ายวิจัยและพัฒนา และการปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยงานที่กำกับดูแล การประเมินความเสี่ยงจะช่วยระบุแหล่งที่มาของสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร และสร้างแผนที่การเดินทางของสารดังกล่าวในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิต เมื่อเราทราบเส้นทางของสารก่อภูมิแพ้ การควบคุมจะสามารถกระทำได้ในพื้นที่เป้าหมาย เช่น การรับ และการเก็บรักษา การกำหนดตารางการผลิต ความแปรผันของการผลิต การออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ และการจัดหาและอุปกรณ์การทำความสะอาด คุณจะต้องทำการทบทวน และประเมินความเสี่ยงของคุณใหม่เป็นระยะๆ เช่น เมื่อมีผลิตภัณฑ์ใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงสูตร หรือมีการเปลี่ยนแปลงผู้จำหน่ายอาจนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการผลิต
2. การบริหารความเสี่ยง: เมื่อมีความเสี่ยง ก็ต้องมีการจัดการกับความเสี่ยง กุญแจสำคัญในการจัดการความเสี่ยงที่ประสบความสำเร็จคือ การพัฒนาคำแนะนำในการทำงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐานที่สามารถควบคุมความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดการปนเปื้อนสารก่อภูมิแพ้โดยไม่ได้ตั้งใจ ขั้นตอนและคำแนะนำในการปฏิบัติงานเหล่านี้หมายรวมถึงข้อกำหนดด้านคุณภาพของวัตถุดิบจากผู้จำหน่าย การคัดแยก การควบคุมการผลิต การกำหนดตารางการผลิต การออกแบบและติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ รวมถึงกระบวนการทำความสะอาดและสุขาภิบาล ดังนั้นการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำการตรวจสอบว่าขั้นตอนและการปฏิบัติงานเหล่านี้มีประสิทธิภาพจึงมีความสำคัญอย่างมาก นอกจากนี้ ยังควรทบทวนและประเมินผลกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้มีประสิทธิภาพ แผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ที่ประสบความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง ความชัดเจนของขั้นตอนและเอกสาร และประสิทธิผลของแผนที่ใช้
3. การสื่อสารความเสี่ยง: ขั้นตอนต่อไปหลังจากการประเมินความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง คือการสื่อสารความเสี่ยง หากคุณมีอาหารที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ในโรงงานของคุณ ซึ่งอาจพบโดยไม่ได้ตั้งใจในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป คุณจะต้องแจ้งข้อมูลนี้บนฉลากอาหาร การประเมินความเสี่ยงสามารถช่วยกำหนดลักษณะของสารก่อภูมิแพ้ที่อาจเกิดขึ้นได้ ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายผลิตจากส่วนผสมที่มีสารก่อภูมิแพ้ หรือผลิตบนอุปกรณ์ที่สัมผัสกับส่วนผสมที่เป็นสารก่อภูมิแพ้โดยตรงหรือไม่ การวิเคราะห์นี้สามารถรับประกันการติดฉลากที่เหมาะสมทั้งในส่วนของส่วนประกอบของอาหาร หรือบนฉลากแจ้งเตือนอาการแพ้ (PAL)
ท้ายที่สุดแล้ว โปรดระลึกไว้เสมอว่าสิ่งสำคัญที่สุดในแผนการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร คือความมุ่งมั่นในการจัดการเพื่อความสำเร็จ
การสื่อสารและการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องเพิ่มความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ผลิต
การควบคุมสารก่อภูมิแพ้เป็นหนึ่งในหลายๆ ความพยายามในการป้องกันและลด
การเจ็บป่วยจากอาหารในมนุษย์ การพัฒนา และปฏิบัติตามแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ที่มีประสิทธิภาพจะช่วยคุ้มครองผู้บริโภคที่แพ้อาหาร รวมถึงลดความเสี่ยงของผู้ผลิตอาหารในด้านของชื่อเสียง และค่าใช้จ่ายในการเรียกคืนผลิตภัณฑ์อีกด้วย
ติดต่อเราเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมว่านวัตกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของ 3เอ็ม ช่วยคุณได้อย่างไร
รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อแผนกผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety Department)
3M Food Safety / บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จำกัด88 อาคารเดอะ ปาร์ค ชั้น 14
ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย
เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์: +66 (0)2 666 3666
แฟกซ์: +66 (0)2 666 4000
คุณนริสรา วานิกร อีเมล์:
nwanigorn@mmm.com คุณเมสิณี ลิขิตรัตนไพบูลย์ อีเมล์:
maneelik@mmm.com คุณณรัณรัชต์ ภู่โยธิน อีเมล์:
kbhuyothin@mmm.com