Aseptic packaging system หมายถึง ระบบการบรรจุสำหรับอาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนด้วยระบบ aseptic processing ระดับ Ultra High Temperature หรือ UHT เพื่อทำให้ปลอดเชื้อในระดับ commercial sterilization และบรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดเชื้อภายใต้สภาวะที่ปลอดเชื้อของระบบการบรรจุแบบปลอดเชื้อ
Aseptic packaging system เป็นส่วนหนึ่งของ ระบบ aseptic processing and packaging
ข้อดีของระบบการบรรจุแบบปลอดเชื้อ
สมบัติของวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสำหรับการบรรจุแบบปลอดเชื้อ |
วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะแก่การบรรจุแบบปลอดเชื้อ ควรมีสมบัติดังนี้ 1. วัสดุที่ใช้จะต้องไม่ทำปฏิกิริยากับสินค้าภายใต้สภาวะปลอดเชื้อ พร้อมทั้งไม่มีการแยกตัวออกมาของตัวบรรจุภัณฑ์ (migration) 2. การคงสภาพทางกายภาพ (physical Integrity) เป็นสมบัติจำเป็นมากในการรักษาสภาวะปลอดเชื้อภายในบรรจุภัณฑ์ 3. วัสดุบรรจุภัณฑ์จะต้องป้องกันการซึมผ่าน (barrier) ของออกซิเจน ความชื้น แสง และกลิ่น เพื่อช่วยรักษาคุณภาพของสินค้า |
ระบบการบรรจุแบบ aseptic packaging |
1. Fill and seal: preformed containers made of thermoformed plastic, glass or metal are sterilized, filled in aseptic environment, and sealed 2. Form, fill and seal: ลักษณะของบรรจุภัณฑ์เป็นม้วน จะถูกสเตอริไรซ์ (sterilization) และ ขึ้นรูป ในสภาวะปลอดเชื้อ แล้วจึงบรรจุและปิดผนึก ตัวอย่างของระบบบรรจุได้แก่ aseptic carton ของtetrapak 3. Erect, fill and seal: using knocked-down blanks, erected, sterilized, filled, sealed. e.g. gable-top cartons, cambri-bloc 4. Thermoform, fill, sealed roll stock sterilized, thermoformed, filled, sealed aseptically. e.g. creamers, plastic soup cans 5. Blow mold, fill, seal |
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ ในระบบ Aseptic packaging |
|
วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ใช้สำหรับการบรรจุแบบปลอดเชื้อ |
โดยทั่วไปวัสดุที่ใช้แปรรูปเป็นบรรจุภัณฑ์สำหรับการบรรจุแบบปลอดเชื้อ จะประกอบด้วยวัสดุไม่น้อยกว่า 2 ประเภท ดังแสดงไว้ในตาราง วัสดุแต่ละอย่างจะมีคุณสมบัติเด่นที่แตกต่างกัน เช่น บรรจุภัณฑ์ถุงในกล่อง (Bag in Box) ตัวบรรจุภัณฑ์มักจะเป็นการเคลือบชั้น (Laminate) ของ EVA (Ethylene Vinyl Acetate) ฟิล์มเม็ททาไลซ์ (Metalized Film) และ LDPE เพื่อประสานคุณสมบัติแต่ละชั้นให้ได้คุณสมบัติรวมตามต้องการของตัวบรรจุภัณฑ์และสินค้า ตัวถุงที่ใช้นั้นจำต้องเหนียว ทนการทิ่มทะลุได้ (Puncture - Resistant) และต้านการซึมผ่าน (Barrier) ท้ายที่สุดโครงสร้างขอบรรจุภัณฑ์ยังต้องสามารถปิดผนึกได้อย่างสมบูรณ์ (Hermectically Sealed container) |
วัสดุ |
การซึมผ่าน |
สมบัติ |
ความทนทาน |
||||
ออกซิเจน |
ความชื้น |
แสง |
การปิดผนึก |
เหนียว |
ฉีก |
ทิ่มทะลุ |
|
กระดาษแข็ง |
√ |
√ |
|||||
เปลวอะลูมิเนียม |
√ |
√ |
√ |
||||
เม็ททาไลซ์ฟิล์ม |
√ |
√ |
|||||
(LDPE) |
√ |
√ |
|||||
Linear Low Density Polyethylene (LLDPE) |
√ |
√ |
√ |
√ |
|||
ไนลอน |
√ |
√ |
|||||
Polypropylene (PP) |
√ |
√ |
√ |
||||
Polystyrene (PS) |
√ |
||||||
Polyvinylchloride (PVC) |
√ |
√ |
|||||
Ethylene Vinyl Acetate (EVA) |
√ |
Reference |
อาจารย์ ปุ่น คงเจริญเกียรติ บรรจุภัณฑ์น้ำผลไม้ตอนที่ |