สตาร์ชออกซิไดส์ (oxidized starch) เป็นผลิตภัณฑ์จากสตาร์ซ (starch) ในกลุ่มสตาร์ชดัดแปร (modified starch)
การผลิตสตาร์ชออกซิไดส์
ผลิตโดยการนำสตาร์ชธรรมชาติ (native starch) มาเตรียมเป็นสารละลายสตาร์ช แล้วให้ความร้อนเพื่อทำให้สุก (gelatinization)
แล้วเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลของสตาร์ชด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) โดยเติมหมู่คาร์บอกซิล และคาร์บอนิลเข้าไป
โดยให้สารละลายสตาร์ชทำปฏิกิริยากับคลอรีน ซึ่งเป็นสารออกซิไดส์คลอรีนที่ใช้เป็นไฮโพคลอไรต์ (hypochlorite) ในสภาวะ
ที่เป็นด่าง เช่น sodium hypochlorite ทำให้พันธะภายในเม็ดสตาร์ช (starch granule) มีความแข็งแรงลดลงมาก สตาร์ชออกซิไดส์
ที่ใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) มีปริมาณหมู่คาร์บอกซิลไม่เกินร้อยละ 1.1 มีปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้าง
ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (mg/kg)
สมบัติของสตาร์ชออกซิไดส์
References
http://kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC4406056.pdf