รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
|
|||||||||
คณะ/สาขาวิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์/ สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร |
|
|||||||||
1. รหัสและชื่อรายวิชา 01116103 การวัดและเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมอาหาร Measurement and Instrumentation in Food Industry |
|
|||||||||
2. จำนวนหน่วยกิต 3 (2-3-6) หน่วยกิต |
|
|||||||||
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรที่ใช้ หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร ประเภทของรายวิชา วิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาวิศวกรรมอาหาร |
|
|||||||||
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบและการสอน ผศ.ดร.นวภัทรา หนูนาค รศ. สาทิป รัตนภาสกร อ. สมัคร รักแม่ |
|
|||||||||
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่.....2/2556..........ชั้นปีที่.......2......... |
|
|||||||||
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี |
|
|||||||||
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี |
|
|||||||||
8. สถานที่เรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
|||||||||
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ 29 ตุลาคม 2556 |
|
|||||||||
10. คำอธิบายรายวิชา การวัด นิยามและคุณลักษณะของการวัด การบันทึกและแจกแจงข้อมูล การวิเคราะห์ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง ความคลาดเคลื่อนและความไม่แน่นอนของการวัด เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ การวัดปริมาณฟิสิกส์ทางไฟฟ้าและทางกล เช่น การวัดอุณหภูมิ การวัดความเครียดและน้ำหนัก การวัดขนาด ตำแหน่งและระยะทาง การวัดความดัน การวัดการไหล และการวัดระดับ ปฏิบัติการด้านการวัดและเครื่องมือวัด ได้แก่ การวัดทางไฟฟ้า การวัดอุณหภูมิ การวัดระยะขจัด การวัดความเครียด การวัดความดัน และการวัดอัตราการไหลในท่อปิด |
||||||||||
1. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา |
||||||||||
หน่วยกิต |
จำนวนชั่วโมง / ภาคการศึกษา |
|||||||||
บรรยาย |
ปฏิบัติ |
ศึกษาด้วยตัวเอง |
สอนเสริม |
|||||||
3 (2-3-6) |
30 |
45 |
90 |
ไม่มี |
||||||
2. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล |
||||||||||
รหัสวิชา
|
อาจารย์ผู้สอน |
วัน-เวลา |
สถานที่ |
หมายเลขโทรศัพท์ และ E-mail สำหรับติดต่อ |
รวมจำนวนชั่วโมง/สัปดาห์ |
|||||
|
|
จันทร์ - พุธ 16.00-17.00 |
ห้องพักอาจารย์ ชั้น 2 อาคาร 12 ชั้น |
02-3298356-8 ต่อ 17 |
3 |
|||||
แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน |
||||||
สัปดาห์ที่ และ วันสอน |
หัวข้อ/รายละเอียด |
ชั่วโมงสอน/สัปดาห์ |
กิจกรรมการเรียนการสอน |
สื่อที่ใช้ในการสอน |
ผู้สอน |
|
ทฤษฎี |
ปฏิบัติ |
|||||
1 5 พ.ย. 56 |
แนะนำวิชาและระดมความคิดเพื่อกำหนดรายงานกลุ่ม |
2 |
3 |
แนะนำหัวข้อ กฎเกณฑ์ในการเรียนในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติ การประเมินผล และการติดต่อกับอาจารย์ผู้สอน รวมถึงการระดมความคิดเพื่อกำหนดหัวข้อรายงาน |
Power Point |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
2 12 พ.ย. 56 |
การวัด นิยามและคุณลักษณะของการวัด ได้แก่ ชนิดของความ ผิดพลาด และการคำนวณ ค่าความไม่แน่นอนและการวิเคราะห์ วัตถุประสงค์ของการวัด |
2 |
3 |
บรรยาย ประกอบสื่อนำเสนอ มอบหมายให้ทำรายงานเทคโนโลยีการใช้งานเซนเซอร์และเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมอาหาร |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
3 19 พ.ย. 56 |
เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ พร็อกซิมิตี้เซนเซอร์ เซนเซอร์ชนิดใช้แสงและ เซนเซอร์ชนิดใช้เสียง นักศึกษานำเสนอเทคโนโลยีการใช้งานเซนเซอร์และเครื่องมือวัดในอุตสาหกรรมอาหาร |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
4 26 พ.ย. 56 |
การวัดอุณหภูมิ หลักการวัดอุณหภูมิโดยอาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติต่าง ๆ |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
5 3 พ.ย. 56 |
หลักการวัดอุณหภูมิ (ต่อ) |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
6 14 พ.ย. 56 (ชดเชยวันหยุด) |
การวัดความเครียดและน้ำหนัก ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด สเตรนเกจ โหลดเซลล์ |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
7 17 พ.ย. 56
|
การวัดขนาด ตำแหน่งและระยะทาง การวัดขนาด ทรานสดิวเซอร์ชนิดเปลี่ยนแปลงค่าเหนี่ยวนำแบบเชิงเส้น ค่าความต้านทานและค่าความจุไฟฟ้า อุปกรณ์เข้ารหัส |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
8 4 ม.ค. 57 (ชดเชยวันหยุด) |
การวัดความดัน ความดัน รูปแบบความดัน การเลือกใช้อุปกรณ์ ชนิดและเครื่องมือวัดความดัน |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา รศ.สาทิป อ.สมัคร |
9 7 ม.ค. 57
|
เครื่องมือวัดความดันอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางกล ทรานสดิวเซอร์วัดความดัน ส่วนประกอบที่ใช้ร่วมกับเครื่องมือวัดความดัน ช่วงเวลาตอบสนอง การวัดในจุดสั่นสะเทือน ความผิดพลาด หลักการติดตั้ง |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา รศ.สาทิป อ.สมัคร |
10 14 ม.ค. 57 |
การวัดการไหล ตัวแปรพื้นฐาน หลักการพิจารณาเลือกเครื่องมือวัดการไหล รูปแบบการวัดการไหล |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา รศ.สาทิป อ.สมัคร |
11 21 ม.ค. 57 |
การวัดระดับ ข้อควรพิจารณาการเลือกเครื่องมือวัดระดับ เครื่องมือตรวจวัดระดับ การวัดระดับในภาชนะที่มีความดันและอุณหภูมิสูง |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
12 28 ม.ค. 57 |
การประยุกต์ใช้งานเครื่องมือวัดชนิดต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมอาหาร |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
13 4 ก.พ. 57 |
นักศึกษานำเสนอรายงาน |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
14 11 ก.พ. 57 |
นักศึกษานำเสนอรายงาน |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
15 18 ก.พ. 57 |
นักศึกษานำเสนอรายงาน และสรุปรายละเอียดโดยรวมของวิชา |
2 |
3 |
บรรยายในชั้นเรียนและภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ |
Power Point เอกสารประกอบการบรรยาย และคู่มือปฏิบัติการ |
ผศ.ดร.นวภัทรา |
เกณฑ์การประเมินผล [ ] U หรือ S [ ] ให้ลำดับขั้น A, B+, B, C+, C, D+, D, F ตัดเกรดด้วยวิธี อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ ดังนี้ พิจารณาการให้เกรด A-D แบบอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม โดยที่ เกรด A ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 85% และเกรด F ได้คะแนนน้อยกว่า 45%
|
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตำราและเอกสารหลัก นวภัทรา หนูนาค และ ทวีพล ซื่อสัตย์, การวัดและเครื่องมือวัด การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร, คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 316 หน้า |
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ (ถ้ามี) คู่มือปฏิบัติการ การวัดและเครื่องมือวัด คู่มือ (Catalogue) เครื่องมือวัด |
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ (ถ้ามี) เว็ปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น www.foodnetworksolution.com |