สารกลุ่มฟอสเฟต ใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) ได้แก่
INS No. | Additive Name |
342 (i) | Ammonium dihydrogen phosphate |
452 (v) | Ammonium polyphosphate |
542 | Bone phosphate |
450 (vii) | Calcium dihydrogen diphosphate |
341 (ii) | Calcium hydrogen phosphate |
452 (iv) | Calcium polyphosphateแคลเซียมพอลิฟอสเฟต |
342 (ii) | Diammonium hydrogen phosphate |
450 (vi) | Dicalcium diphosphate |
340 (ii) | Dipotassium hydrogen phosphate |
450 (i) | Disodium diphosphate |
339 (ii) | Disodium hydrogen phosphate |
343 (i) | Magnesium dihydrogen phosphate |
343 (ii) | Magnesium hydrogen phosphate |
341 (i) | Monocalcium dihydrogen phosphate |
451 (ii) | Pentapotassium triphosphate |
451 (i) | Pentasodium triphosphate |
338 | Phosphoric acid |
340 (i) | Potassium dihydrogen phosphate |
452 (ii) | Potassium polyphosphate |
452 (iii) | Sodium calcium polyphosphate |
339 (i) | Sodium dihydrogen phosphate |
452 (i) | Sodium polyphosphate |
450 (v) | Tetrapotassium diphosphate |
450 (iii) | Tetrasodium diphosphate |
341 (iii) | Tricalcium phosphate |
343 (iii) | Trimagnesium phosphate |
340 (iii) | Tripotassium phosphate |
450 (ii) | Trisodium diphosphate |
339 (iii) | Trisodium phosphate |
การใช้สารฟอสเฟตเพื่อเป็นวัตถุเจือปนในอาหารและเครื่องดื่ม
ผลิตภัณฑ์ |
Ingredient |
Phosphate Function |
Bakery products |
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Cereals |
||
|
|
|
|
|
|
Dairy products |
||
|
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Egg products |
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Meat products |
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
||
|
|
|
|
|
|
Pet food |
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Potato |
||
|
|
|
|
|
|
|
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Sea foods |
||
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา; http://www.foodadditives.org/phosphates/phosphates_used_in_food.html
(with some modification for the intenal link)
การใช้สารกลุ่มฟอสเฟตในอาหาร
การใช้ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
ฟอสเฟต (phosphate) ในผลิตภัณฑ์ซูริมิ ทำให้มีการละลายของโปรตีนเพิ่มขึ้น เพราะมีการเพิ่มขึ้นของค่า pH และค่า Ionic strength ความสามารถในการละลายของโปรตีนจะมีค่าต่ำสุดในช่วง Isoelectric point ที่ช่วงค่า pH 5-6 โดยจะได้เจลที่มีความแข็งแรงต่ำที่สุด และเมื่อค่า pH เพิ่มขึ้น ค่าความแข็งแรงเจลเพิ่มขึ้น และเพิ่มความสามารถในการกักเก็บน้ำของเจล ประสิทธิภาพของฟอสเฟตจะเห็นได้ชัดเจนในการใช้ฟอสเฟตร้อยละ 0.2-0.3 ส่วนค่า pH ที่เหมาะสมคือ ช่วงค่า pH 6.5-7.5
Phosphate ที่นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ซูริมิ ได้แก่ ได้แก่ sodium pyrophosphate หรือ sodium tripolyphosphate และเมื่อผสมโซเดียมไพโรพอสเฟต และโซเดียมไตรพอลิฟอสเฟต ในอัตราส่วน 6:4 จะให้ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นมากกว่าการใช้พอลิฟอสเฟตชนิดใดชนิดหนึ่ง การใช้สารทั้งสองชนิดรวมกันในปริมาณร้อยละ 0.1-0.3 จะทำให้ความแข็งแรงของเจลดีที่สุด